อํานาจและการโน้มน้าว: ยุทธศาสตร์ไร้ความรุนแรงเพื่อชักจูงกองกําลัง ความมั่นคงของรัฐในเซอร์เบีย (2000) และยูเครน (2004)
ในการเคลื่อนไหวขับไล่มิโลเชวิกโดยขบวนการ Otpor ของเซอร์เบีย (2000) และ “การปฏิวัติสีส้ม” ของยูเครน (2004) ผู้จัดขบวนการเคลื่อนไหวได้พัฒนายุทธศาสตร์ออกมาอย่างชัดเจนเพื่อเพิ่มต้นทุนของการปราบปราม และบั่นทอนความต้องการของกองกำลังความมั่นคงของรัฐในการใช้ความรุนแรงกับขบวนการเคลื่อนไหว ด้วย การผสมผสานการโน้มน้าวและการป้องปรามหลากหลายรูปแบบ ที่ออกแบบมาให้เหมาะสมกับสถาบันต่าง ๆ ที่ เป็นเป้าหมาย ขบวนการเหล่านี้สามารถหลีกเลี่ยงการปราบปรามรุนแรงครั้งใหญ่ได้
Communist and Post-Communist Studies, August 2006
Translated by: Thammachart Kri-aksorn
Translation edited by: Didtita Simcharoen